อิฐ กับงานก่อสร้าง บทความนี้จะกล่าวถึงอิฐก่อผนังที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในบ้านเราโดยจะลงในรายละเอียดที่มาที่ไปของอิฐแต่ละประเภท ว่ามีความเหมือนและแตกต่างกันอย่างไร ย้อนไปเมื่อหลายพันปีก่อน ในช่วงเวลาที่มนุษย์เริ่มก่อช่างอารยธรรม จากอิฐ ก้อนเล็กๆ ก้อนแล้วก้อนเส้า ผ่านงินตนาการอันสูงส่ง ผ่านมือของเหล่าช่างฝีมือนับพัน ดิน ก้อนเล็ก ๆ ซึ่งเคยนอนอย่างสงบเงียบอยู่กันแพ้น้ำก็ได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของสถาปิดยการม อันยิ่งใหญ่ แม้อาณาจักรจะล่มสลาย อารยธรรมจะเสื่อมสูญ แต่อิฐก็ยังคงทำหน้าที่ของมัน นอกเล่าเรื่องราวอารยธรรมให้อนุชนรุ่นหลังได้ศึกษานานนับหลายพันปี นับตั้งแต่อิฐก้อน แรกได้ถูกประดิษฐ์ขึ้น สิ่งก่อสร้างอันยิ่งใหญ่ทั้งหลายล้วนก่อตัวขึ้นมาจากอิฐก้อนเล็กๆ นี้ ทั้งสิ้น อิฐ เป็นเทคโนโลยีการก่อสร้าง ที่ได้รับการพัฒนาปรับปรุงคุณภาพ ทั้งในเรื่อง ลักษณะทางกายภาพ มิติ การรับกำลัง รวมถึงวัตถุดิบที่ใช้ผลิตเพื่อให้ได้คุณสมบัติที่ดีขึ้น มาโดยตลอด ปัจจุบันอิฐที่ใช้ในการก่อสร้างในประเทศไทยก็มีหลากหลายรูปแบบ เช่น อิฐมอญ อิฐแดง อิฐประดับ, คอนกรีตบล็อก,อิฐบล็อก, และอิฐมวลเบา เป็นต้น ประวัติการใช้อิฐ หลักฐานทางโบราณคดี พบการใช้อิฐมาตั้งแต่สมัยโบราณ ในสมัยอารยธรรมอียิปต์ ไอ้ดินโคลนจากริมแม่น้ำในล์มาป่า และขึ้นรูปให้เป็นก้อนตามขนาดที่ต้องการจากนั้น นำไปตากแดดให้แห้งโดยไม่ได้มีการเผาให้สุก (Sun-Bumed Bricks) แต่สำหรับในบาง พื้นที่ซึ่งมีฝนตกถูก เช่น ดินแดนเมโสโปเตเมีย